พิธีกรรมงานศพของไทยตามคติพุทธธรรม

Thai Funeral Rituals According to Buddhist Principles

  • พระครู สุตภัทรธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ

Abstract

        จากการศึกษาเรื่องพิธีกรรมงานศพของไทยตามคติพุทธธรรมได้พบว่า มีหลักต่อการปฏิบัติต่อ งานศพที่หลากหลาย และสามารถนำมาประยุกต์ใช้และนำมาปฏิบัติตามแล้ว ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ที่ จัดงาน และผู้ที่ไปงานศพด้วยแต่ละวิธีหรือพิธีกรรมหลักการคิดทรรศนะ ของคนไทยเรา และต้องทำให้ ถูกวิธี ในด้วนการปฏิบัติทางการจัดงานศพ พิธีกรรมที่ถูกต้องสมบูรณ์แบบที่สุด คติธรรมที่มีในการจัดงาน ศพนั้นเป็นการบอกให้คนที่มีชีวิตอยู่ศึกษาความจริงของชีวิต และจงดำเนินชีวิตอย่างมีสติและไม่ประมาท เมื่อยังมีชีวิตอยู่ในพิธียังสอนว่า อย่ามัวรอให้คนมาบอกข้าง ๆ โลงว่ารับศีลนะ ฟังพระสวดนะ สิ่งนี้ละเป็น การสอนคนที่มาร่วมงานศพ แม้แต่ก่อนนำขึ้นเชิงตะกอนยังเปิดให้ดูก่อนเพื่อแสดงให้เห็นว่าศพไม่ได้นำอะไรติดตัวไปเลย ดังนั้นพิธีกรรมงานศพจึงมีคติพุทธธรรมมากมาย


        From the study of Thai funeral rituals according to the Buddhist Dharma, it was found that there are many principles to treat funerals. And can be applied and implemented accordingly Bring benefits to those who organize the event And those who go to the funeral with each method or ritual, principles, viewpoint of the Thai people and we have to do it the right way During the funeral arrangements The most perfect ritual The morale in the funeral is to tell the living people to study the truth of life. And live your life consciously and without negligence when still alive in the ceremony, also taught that do not wait for people to tell the coffin next to receive the sacrament. Listen to the prayer. This is to teach people to attend funerals. Even before being brought up, the sedimentation was opened for viewing to show that the body had not been brought with him at all. Therefore, the funeral rituals have many Buddhist principles

References

บุญมี แท่นแก้ว, ผศ. (2545). พุทธปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
พระมหาสมปอง จนฺทว โส (ยุงรัมย์). (2548). ธรรมชาติของมนุษย์ ในพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาของ
อริสโตเติล. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาปรัชญา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาสมศักดิ์ อติเมโธ (สงวนดี). (2552). การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเรื่องวิธีชนะความตายของ
พุทธทาสภิกขุ. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาชีวิตและความตาย, บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระสัทธรรมโชติกะ ธัมมาจริยะ. (2524). มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริเฉทที่ 5 เล่ม 2 กัมมจตุกกะมรณุปปัตติจตุกกะ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ.
พุทธทาสภิกขุ. (2548). วิธีชนะความตาย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นามมีบุ๊คส์
พับลิเคชั่นส์.
วิธาน สุชีวคุปต์ และสนธิ บางยี่ขัน. (2543). ปรัชญาไทย. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เสฐียรโกเศศ. (2515). ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต. งานนิพนธ์ชุดประเพณีไทย. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
Published
2020-06-05
How to Cite
สุตภัทรธรรม, พระครู. พิธีกรรมงานศพของไทยตามคติพุทธธรรม. วารสาร สังคมศึกษา มมร, [S.l.], v. 1, n. 1, p. 51 - 65, june 2020. ISSN 2697-603X. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/josmbu/article/view/684>. Date accessed: 28 nov. 2024.