การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบเน้นกลวิธีอภิปัญญา โดยการสอนแบบชัดแจ้งและการบอกความคิดเพื่อเสริมสร้าง ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษและการกำกับตนเอง ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

The Development of Reading Instructional Model Using Metacognitive Reading Strategies, Explicit Instruction and Think-aloud Approach to Enhance Reading Abilities and Self-regulation Abilities of University Students

  • รัศมี รัตนประชา สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • วิสาข์ จัติวัตร์

Abstract

บทคัดย่อ


การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบเน้นกลวิธีอภิปัญญาโดยการสอนแบบชัดแจ้งและการบอกความคิด 2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษก่อนและหลังการใช้รูปแบบ 3) เปรียบเทียบการใช้กลวิธีอภิปัญญาก่อนและหลังการใช้รูปแบบ 4) เปรียบเทียบการกำกับตนเองก่อนและหลังการใช้รูปแบบ 5) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อรูปแบบ และ 6) รับรองรูปแบบ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล จำนวน 30 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) รูปแบบ 2) คู่มือ 3) แผนการจัดการเรียนรู้ 4) แบบฝึก 5) แบบทดสอบ 6) แบบบันทึกการอ่านด้วยการบอกความคิด 7) แบบสำรวจการใช้กลวิธีอภิปัญญา 8) แบบวัดการกำกับตนเอง 9) แบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดย 1) การวิเคราะห์เนื้อหา 2) ค่าเฉลี่ย 3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ 4) สถิติทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระ


ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการสอนชื่อ PPME Model ประกอบด้วย 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการจัดการเรียนรู้ และ 4) การวัดผลและการประเมินผล กระบวนการจัดการเรียนรู้ มี 4 ขั้น คือ 1) ขั้นวางแผนและการเรียนรู้ (P) 2) ขั้นนำเสนอและฝึกปฏิบัติ (P) 3) ขั้นตรวจสอบความเข้าใจ (M) และ 4) ขั้นประเมินผลการอ่าน (E) ประสิทธิภาพของรูปแบบเท่ากับ 80.33/80.67 2) ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) การใช้กลวิธีอภิปัญญาสูงกว่าก่อนเรียน 4) การกำกับตนเองสูงกว่าก่อนเรียน 5) นักศึกษามีความคิดเห็นในทางบวกต่อรูปแบบ และ 6) รับรองรูปแบบว่ามีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด


ABSTRACT


The purposes of this research were to 1) develop and determine the efficiency of metacognitve-explicit reading strategy instruction with think-aloud approach, 2) compare students’reading abilities before and after using the model, 3 compare students’ metacognitive strategies use before and after using the model, 4) compare students’ self-regulation abilities before and after using the model, 5) study the students’ opinion towards the model and 6) verify the model. The samples were 30 university students, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Wangklaikangwon Campus, selected by simple random sampling. The research instruments consisted of 1) the instructional model, 2) the manual, 3) lesson plans, 4) reading exercises, 5) reading ability tests, 6) a think-aloud checklist, 7) a survey of metacognitive reading strategies use, 8) a measure of self-regulation and 9) a questionnaire of students’ opinion. The obtained data were analyzed by 1) content analysis, 2) mean (), 3) standard deviation (S.D.) and 4) t-test dependent


          The research findings revealed that 1) the instructional model called PPME Model consisted of 4 components 1) principles, 2) objectives, 3) learning process and 4) evaluation.  The learning process composed of 4 stages: 1) Planning for Learning: P, 2) Presenting and Practicing: P, 3) Monitoring Understanding: M, and 4) Evaluating Reading Task: E. The efficiency of the PPME Model was 80.33/80.67; 2) the students’ English reading abilities after using the PPME Model was significantly higher at the .05 level; 3) students’ metacognitive strategies use after using the model was higher; 4) students’self-regulation abilities after using the model was higher; 5) the students’ opinions towards the PPME Model were positive and 6) the PPME Model was verified at the highest level.

References

ฉลวย ม่วงพรวน. (2553). การพัฒนารูปแบบการเรียนด้วยตนเองด้วยกิจกรรมการรู้คิดในการอ่านภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาอุตสาหกรรม. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มาเรียม นิลพันธุ์. (2558). วิธีวิจัยทางการศึกษา Research Methodology in Education. (พิมพ์ครั้งที่ 9).นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.

วัชรา เล่าเรียนดี. (2552). รูปแบบและกลยุทธ์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 4). ฉบับปรับปรุง. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). สี่เสาหลักของการเรียนรู้. ใน สารานุกรมวิชาชีพครูเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 (หน้า 511 – 515). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา,

วิภาดา พูลศักดิ์วรสาร. (2555). การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านเน้นภาระงานโดยใช้กลวิธีอภิปัญญาสำหรับผู้ใหญ่ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วิษณุ ทรัพย์สมบัติ. (2562). ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562.เข้าถึงได้จาก bet.obec.go.th › uploads ›2020/06 › onet-p3m3m62562
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2557). เข้าถึงได้จาก www.niets.or.th

สุเทียบ ละอองทอง. (2545). การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้ยุทธศาสตร์เมตาคอกนิชัน สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุทธิลักษณ์ มีอำพล. (2552). การพัฒนาอภิปัญญาในการอ่านภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศราวุธ เกิดสุวรรณ. (2558). การใช้อภิปัญญาพัฒนาความสามารถในการกำกับตนเองของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์.

Albazi, S., & Shukri. N. (2016). Evaluating the Effect of Metacognitive Strategy Training on Reading Comprehension of Female Students at KAU. International Journal of Applied Linguistics & English Literature, 5(3), 172–183.

Anderson, N. E. (1999). Exploring second language reading. Beijing: Foreign Language Teaching and Research Press.

Archer, A. L. & Hughes, C. A. (2011). Explicit Instruction: Effective and Efficient Teaching. New York: The Guilford Press.

Baker, L. & Brown, A. L. (1980). Metacognitive Skills and Reading. In P. D. Pearson (Ed.), Handbook of Reading Research. New York: Longman.

Cabral, A. P., & Tavares, J. (2002). Practising College Reading Strategies. The Reading Matrix, 2(3), 1–16

Connell, D. (2015). A Phenomenological Study: Explicit Metacognition Instruction in the AVID Program. (Doctoral dissertation). The Faculty of the College of Graduate Studies. Lamar University.

Cubukcu, F. (2008). Enhancing vocabulary development and reading comprehension through metacognitive strategies. Issues in Educational Research, 18(1), 1-11.

Dick, W., Carey, L., & Carey, J. O. (2004). The Systematic Design of Instruction. (6th ed). n.p.: Pearson

Dorkchandra, D. (2010). Enhancing English Reading Comprehension through a Text
Structure Reading Strategy CALL Program. (Doctoral Dissertation). School of English, English Language Studies. Suranaree University of Technology.
Flavell, J .H. (1979). Metacognition and Cognitive Monitoring, A new area of cognitive-
developmental inquiry. American Psychologist, 34 (10), 906-911.
Gagne, R. M., Briggs, L. J., & Wager, W. W. (1992). Principles of Instructional Design. (4th ed).
USA: Harcourt Brace College Publishers.
Grabe, W. & Stoller, F. L. (2002). Teaching and Researching Reading. London: Pearson
Education Longman.
Jahandar, S., Khodabandehlou, M., Seyedi, G. & Dolat Abadi, R. M. (2012). The Think-aloud
Method in EFL Reading Comprehension. International Journal of Scientific & Engineering Research, 3(9), 1-9.

Mardani, N. & Afghary, A. (2017). Self-Regulated Strategy Development (SRSD) and the Reading Process: Effects on Reading and Metacognitive Awareness. Journal of Applied Linguistics and Language Research, 4(6), 192-200.

Min-Tzu Wang. (2009). The Effects of Metacognitive Reading Strategy Instruction on EFL High School Students’ Reading Comprehension, Reading Strategies Awareness, and Reading Motivation. (Doctoral dissertation). USA: University of Florida.

Mokhtary, K. & Sheorey, R. (2002). Measuring ESL Students’ Awareness of Reading Strategies. Journal of Development Education, 2 (3), 2-10.

Nash-Ditzel, S. (2010). Metacognitive Reading Strategies Can Improve Self-Regulation.Journal of College Reading and Learning, 40(1), 45-63.

National Reading Panel. (2000). Reports of the Supgroups – Comprehension. Retrieved from https://www.nichd.nih.gov/sites/default/files/publications/ pubs/nrp/Documents/ch4.pdf (Doctoral dissertation). USA: University of Maryland.

O’Malley, J. M. & Chamot, A. U. (1994). The CALLA Handbook: Implementing the Cognitive Academic Language Learning Approach. USA: Longman.

Pintrich, P. R. & De Groot, E. V. (1990). Motivational and Self-Regulated Learning Components of Classroom Academic Performance. Journal of Educational Psychology, 8 (1), 33-40.

Rosenshine, B. (1987). Explicit Teaching and Teacher Training. Journal of Teacher Education, 38(3), May, 1987, 34-36. Retrieved December 21, 2018, from https:// journals agepub.com/doi/abs/10.1177/002248718703800308

Tehlah, A. and Karavi, P. (2012). Effectiveness of Explicit Affixation Instruction on English Vocabulary Development. In Prince of Songkla University. Faculty of Liberal Arts. Proceeding-Teaching Techniques-002, 4th International Conference on Humanities and Social Sciences April 21st, 2012 (pp. 1-10). Songkla: Prince of Songkla University.

Yuko Iwai. (2009). Metacognitive Awareness and Strategy Use in Academic English Reading Among Adult English as a Second Language (ESL) Students. (Doctoral dissertation). Graduate Studies Office. The University of Southern Mississippi.

Zimmerman, B.J. (2000). Attainment of self-regulation: A social cognitive perspective. In Boekaerts, M., Pintrich, P. R. & Zeidner, M.(Eds.), Handbook of self-regulation, (pp. 13–39). CA: Academic Press.
Published
2020-12-16
How to Cite
รัตนประชา, รัศมี; จัติวัตร์, วิสาข์. การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษแบบเน้นกลวิธีอภิปัญญา โดยการสอนแบบชัดแจ้งและการบอกความคิดเพื่อเสริมสร้าง ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษและการกำกับตนเอง ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 8, n. 2, dec. 2020. ISSN 2408-199X. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/edj/article/view/1136>. Date accessed: 28 nov. 2024.