แนวคิดการบูรณาการความรู้ในอริยสัจเพื่อพัฒนากระบวนการการจัดการเรียนการสอนคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู ของอาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

An Integration of The 4 Noble Truth Concepts to Develop The Process of Teaching Professional Morality and Ethic of Teacher, Faculty of Education, Mahamakut Buddhist University, Thailand

  • พระราชรัตนมงคล ยางธิสาร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • พระมหาสมศักดิ์ ธนปญฺโญ ทองบ่อ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ชวลิต ผู้ภักดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

Abstract

บทคัดย่อ


การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแนวคิดการบูรณาการความรู้ในอริยสัจ 4 เข้ากับกระบวนการการจัดการเรียนการสอนคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับครู 2) ประเมินผลการใช้หน่วยการเรียนรู้วิธีการสอนคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับครูที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น 3) ศึกษาความพึงพอใจการใช้หน่วยการเรียนรู้วิธีการสอนคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับครู  กลุ่มตัวอย่างได้แก่ 1) นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ภาคการเรียนที่ 2/2559 จำนวน 70 รูป/คน ใช้ในการสำรวจความต้องพัฒนาวิธีสอนคุณธรรมและจริยธรรม 2) นักศึกษาชั้นปีที่ 2 จำนวน 29 รูป/คน ใช้ในการทดลองใช้หน่วยการเรียนรู้


ผลการวิจัย พบว่า 1) การประเมินความสอดคล้องของหน่วยการเรียนรู้มีความสอดคล้องอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄= 4.68) และดัชนีความเหมาะสมมากกว่า 0.5 ทุกข้อ 2) การทดลองใช้หน่วยการเรียนรู้มีประสิทธิ ภาพ คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ E1 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ E2  เท่ากับ 80.85/83.23 คะแนนทดสอบหลังสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่มีระดับ 0.05 และความเห็นของที่ประชุมสนทนากลุ่ม (Focus Group) ที่มีต่อความเหมาะสมของการนำหน่วยการเรียนรู้ไปใช้ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าคะแนนเฉลี่ย (x̄=  4.52) 3) การประเมินการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าคะแนนเฉลี่ย (x̄ =  4.72) และความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄= 4.56)


 


ABSTRACT


The aims of this research were 1) to develop the concept of integrating the knowledge of the Four Noble Truths into the process of morality and ethics teaching for teachers, 2) to evaluate the used of those integrated learning models which were developed, 3) to study the satisfaction of learners in using the learning models.


The participants used in this research were students of the Faculty of Education at Mahamakut Buddhist University, the second semester of 2016. Therefore, collecting the needs of 70 second-year students in developing the learning models and experimented the learning models with 29 students. The instrument used in the research is a survey assessment test before and after the study.


The results of the study showed that: 1) The conformity assessment of the learning unit consisted mostly as (x̄  = 4.68) and consistency index more appropriate as 0.5, 2) Results of the trial showed that the effectiveness of the learning unit was the efficiency of the process E1 and the performance results E2 which had significant as 80.85 / 83.23. Moreover, the scores of post-test had higher statistically significant than the pre-test as 0.05. Furthermore, the opinions of the Focus Group agreed with the appropriate applying of the learning unit to use. Therefore, it had the highest level of an average score of (x̄  = 4.52), 3) The result of student progressive learning assessment had the highest level of an average score as (x̄  = 4.72) and also satisfaction had the highest level of an average score of (x̄  = 4.56).

Published
2018-08-09
How to Cite
ยางธิสาร, พระราชรัตนมงคล; ทองบ่อ, พระมหาสมศักดิ์ ธนปญฺโญ; ผู้ภักดี, ชวลิต. แนวคิดการบูรณาการความรู้ในอริยสัจเพื่อพัฒนากระบวนการการจัดการเรียนการสอนคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู ของอาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 6, n. 1, p. 29-40, aug. 2018. ISSN 2408-199X. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/edj/article/view/191>. Date accessed: 01 dec. 2024.