พุทธกระบวนทัศน์การใช้สื่อและอุปกรณ์ในการสื่อสารของพระพุทธเจ้า เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคน

The Buddhist Paradigm for the Use of the Media and Toots for Communication of the Buddha for Changing the Personnel’s Human Behavior

  • พระมหาเอกชัย คำลือ คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • สิริพร ครองชีพ คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • สิริมิตร สิริโสฬส คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • กฤตสุชิน พลเสน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

Abstract

บทคัดย่อ


          การใช้สื่อและอุปกรณ์ในการสื่อสารของพระพุทธเจ้าที่ปรากฏมีพุทธกิจ 5 ในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน ในกระบวนทัศน์เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล จึงมาจากองค์ประกอบของพฤติกรรม ซึ่งประกอบไปด้วยการปรับเปลี่ยนทางด้านต่างๆ คือ 1) บุคลิกภาพ 2) ทัศนคติ  3) การเรียนรู้ 4) การคิด และ5) การปฏิบัติตามหลักวุฑฒิธรรม 4 ซึ่งกล่าวถึงผู้รู้ที่ต้องการคบหาควรเป็นผู้มีบุคลิกภาพสุภาพ มีความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับในสังคม มีทัศนคติมองการณ์ไกล ชอบการเปลี่ยนแปลง เป็นผู้ให้คำปรึกษาข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ และยอมรับความคิดเห็นต่าง รู้จักกาลเทศะรู้จักวัฒนธรรม มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี รู้จักเก็บอารมณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความเป็นกัลยาณมิตรสารคือหลักธรรมที่พระพุทธองค์ทรงสื่อออกไปเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาคือความทุกข์ของสรรพสัตว์ ส่วนประเภทของสื่อและอุปกรณ์ที่พระพุทธเจ้าทรงใช้ในการสื่อสาร ได้แก่1) สื่อบุคคล 2) สื่อธรรม 3) สื่อสังคมและวัฒนธรรม 4) สื่อธรรมชาติสิ่งแวดล้อม 5) สื่อภาษา6) สื่ออุปมาอุปมัย และ7) สื่อนิทานชาดกพระองค์มีจุดมุ่งหมายและจุดประสงค์ในการสื่อสาร ประกอบด้วยทรงมีเทคนิคในการใช้สื่อและอุปกรณ์ เช่น สื่อบุคคลสื่อธรรมชาติสิ่งแวดล้อมผลสำเร็จทำให้ท่านเหล่านั้นได้บรรลุธรรมในที่สุด โดยมีทักษะ 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และ5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆ ในรูปแบบที่เหมาะสม


Abstract


          The use of media and communication devices of the Lord Buddha. There are 5 Buddhist works in daily life communication. In a paradigm for personal behavior, change therefore, comes from the components of behavior which consists of changes in various aspects which are 1) personality, 2) attitude, 3) learning, 4) thinking, and 5) adherence to culture 4, which speaks to those who want to associate. Should be a polite personality Reliable and accepted in society with a foresight attitude like change is a consultant, suggestions that are useful and accepting different opinions knowledge about culture. Have good human relations know how to keep emotions morality and ethics and there is a Kalyanamitta message which is the principle that the Lord Buddha has communicated to use to solve problems Is the suffering of sentient beings the types of media and devices used by the Lord Buddha in communication are 1) personal media 2) Dharma media 3) Social and cultural media 4) Natural media, environment 5) Language media 6) Metaphor media and  7) Jataka tales media His Majesty has a purpose and purpose of communication. Consisting of techniques in using media and devices such as personal media, natural media, and environment the success leads them to finally achieve justice by having 5 skills which are 1) morality, ethics 2) knowledge 3) intellectual skills 4) interpersonal skills and responsibilities and 5) analysis skills. Numerical communication and use of information technology, communication with various groups of people in the right format  

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2539).พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2551).การพัฒนาที่ยั่งยืน, พิมพ์ครั้งที่ 11, กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ทิศนา แขมมณี.(2563).แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์, [ออนไลน์]. สืบค้น 2 มีนาคม 2563, จาก https://www.gotoknow.org/

ศศิวรรณ กำลังสินเสริม.(2550).พุทธกระบวนทัศน์ในการดำเนินชีวิตยุคบริโภคนิยม, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

อรุณ รักธรรม.(2538).เอกสารการสอนชุดวิชา พฤติกรรมมนุษย์ในองค์กร, หน่วยที่ 1-7,นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,

อำนาจ วัดจินดา.(2563). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, [ออนไลน์]. สืบค้น 1 มีนาคม 2563, จาก http://www.wisdommaxcenter.com/

Baruch, B. D.,(1968). New Ways in Discipline, (New York: McGraw-Hill.

Connellan, T. K.,.(1978).How to Improve Human Performance : Behavior in Business and Industry, (New York : Harper & Row, 1978)

Lopez, F. M.,.(1968). Evaluating Employee Performance, (Chicago: Public Personnel Association, 1968)

Keith, D., (1967).Human Relations in Business, (New York : McGraw-Hill Book, 1967)

White, D. D., (1989).Organization Behavior, (New York :Jimone&Schaster, 1989)
Published
2020-03-31
How to Cite
คำลือ, พระมหาเอกชัย et al. พุทธกระบวนทัศน์การใช้สื่อและอุปกรณ์ในการสื่อสารของพระพุทธเจ้า เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคน. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 8, n. 1, p. 1-12, mar. 2020. ISSN 2408-199X. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/edj/article/view/534>. Date accessed: 01 dec. 2024.