พฤติกรรมการตัดสินใจไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในพื้นที่เลือกตั้งซ่อมเขต 8 จังหวัดเชียงใหม่

Behavior of Decision Making to Exercise Voting Rights in the House of Representatives of the People in the Election Area 8, Chiang Mai Province

  • วินิจ ผาเจริญ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

Abstract

บทคัดย่อ


          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1.พฤติกรรมการตัดสินใจไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในพื้นที่เลือกตั้งซ่อมเขต 8 จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เพศ อายุ อาชีพ การศึกษา รายได้และภูมิลำเนากับพฤติกรรมการลงคะแนนเลือกตั้ง เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชาชนที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งอยู่ในเขต 8 จังหวัดเชียงหใม่ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิและแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการทดสอบไคสแควร์


ผลการวิจัยพบว่า


  1. พฤติกรรมการตัดสินใจไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชน ศึกษากรณีการเลือกตั้งซ่อมพื้นที่เขต 8 จังหวัดเชียงใหม่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านนโยบายของผู้สมัครรับเลือกตั้ง ด้านพรรคการเมืองที่ผู้สมัครสังกัด อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านคุณสมบัติผู้สมัครับเลือกตั้ง ด้านการหาเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้ง และด้านคุณสมบัติหัวคะแนนของผู้สมัคร อยู่ในระดับมาก

  2. ผลการทดสอบสมติฐานการวิจัย พบว่า เพศ ระดับการศึกษา รายได้ ภูมิลำเนา มีปัจจัยที่เป็นเหตุจูงใจในการตัดสินใจออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิติ ส่วน อายุ อาชีพ มีพฤติกรรมการตัดสินใจออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยทางสถิติ 0.05

ABSTRACT


The purpose of this research 1.Behavior of decision-making in exercising the right to vote for the members of the House of Representatives in the Election Area 8, Chiang Mai Province 2.To study the relationship between personal characteristics of voters, sex, age, occupation, income and domicile and behavior Vote Is a survey research People used in the research were voters in District 8, Chiang Mai Province. The samples were 400 persons by stratified and accidental random sampling. The tools used in the research were questionnaires and the statistics used in data analysis were percentage, mean and standard deviation and the chi-square test. The results of the research were as following:


  1. Behavior of decision making to exercise voting rights to elect members of the House of Representatives A case study of the election of the repairers in Area 8, Chiang Mai Province The overall picture is in a high level. When considering each aspect found that When classified in each aspect found that The policy of the candidate Regarding political parties that candidates are affiliated with Is at the highest level As for the qualifications of candidates In the campaign for candidates And the eligibility of the applicant's head At a high level

  2. The results of the research base resolution test found that gender, education, income, and domicile have factors that motive to make a decision to exercise the right to vote in the House of Representatives with statistically significant differences. The decision to exercise the right to vote in the House of Representatives is not significantly different. 0.05

References

กฤษชพลณ์ บุญครองและศิวัช ศรีโภคางกุล. (2562). ศึกษาเรื่องนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นกับความตื่นตัวทางการเมือง. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2562)

เกรียงศักดิ์ โชติจรุงเกียร์ (2558) ศึกษาเรื่องการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนโดยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2558

นิรันดร์ พันธ์ศักดิ์และคณะ (2563) ศึกษาเรื่องพฤติกรรมการเลือกตั้งระดับท้องถิ่นของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเทศบาลตำบลท่าประจะ อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช.วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กุมภาพันธ์ 2563

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2544). การสร้างธรรมาภิบาลในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน

ประภัสสร ปานเพชร, จิตติ กิตติเลิศไพศาล. (2555). ศึกษาเรื่องพฤติกรรมการลงคะแนนเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของเขตเลือกตั้งที่ 1 จังหวัดนครพนม. วารสารบัณฑิตศึกษาปีที่ 9 ฉบับที่ 44 กันยายน –ตุลาคม 2555
พัฒนะ เรืองใจดี.(2553). กฎหมายว่าด้วยพรรคการเมือง สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง

สุจิต บุญบงการและพรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2527). พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของคนไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภัทธนีย์ ขุนสิงห์สกุล. (2561). พฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชนเขตจังหวัดพิจิตร. วารสารราชมงคลล้านนา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2561

สมยศ ปัญญามาก. (2561). พรรคการเมืองกับการหาเสียงเลือกตั้ง. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์. ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม – ธันวาคม 2561)

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดเชียงใหม่, (2562). แหล่งที่มา : https://www.ect.go.th/chiangmai/main.php?filename=index (13 ธันวาคม2562)

Blais, A. (2000). To Vote or Not to Vote?: The Merits and Limits of Rational Choice Theory. Pittsburgh: University of Pittsburgh Press.

Chapman,R.G., & Palda,K.S. (1983). Electoral turnout in rational voting and consumption perspectives. Journal of consumer research.

Milbrath Lester W. & M.L.Goel. (1997). Political Participation : How and Why Do People Get Involved in Politics. Chicago: Rand McNally College.

Wolfinger, R.E., & Rosenstone, S.J. (1980). Who Votes? Haven, CT: Yale University Press.
Published
2020-06-30
How to Cite
ผาเจริญ, วินิจ. พฤติกรรมการตัดสินใจไปใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนในพื้นที่เลือกตั้งซ่อมเขต 8 จังหวัดเชียงใหม่. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 8, n. 1, p. 91-101, june 2020. ISSN 2408-199X. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/edj/article/view/807>. Date accessed: 01 dec. 2024.