การประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรม 7 เพื่อการทำงาน กรณีศึกษาอำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น

-

  • อนุวัฒน์ ศรีษะเกษ สถานีตำรวจภูธรอำเภอเมืองขอนแก่น

Abstract

การทำเพื่อให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้นจะต้องอาศัยหลักการทำงาน โดยในทาพระพุทธศาสนาหลักธรรมที่สำคัญสำหรับการประยุกต์ใช้คือหลักอปริหานิยธรรม 7 โดยงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรม 7 ในการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรม 7 ในการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่นโดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลกุดธาตุ จำนวน 67 คน นำมาวิเคราะห์ประมวลผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage), ค่าเฉลี่ย (Mean), ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)


ผลวิจัยพบว่า 1. ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 67 คน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานภาพเป็นหญิง ร้อยละ 65.67 เป็นชาย ร้อยละ 34.33 อายุ 31 - 40 ปี ร้อยละ 37.31 อายุ 21 - 30 ปี ร้อยละ 31.34 อายุ 41 - 50 ปี ร้อยละ 28.36 และอายุต่ำกว่า 21 ปี ร้อยละ 2.99 ระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ร้อยละ 70.15 ต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 25.37 ปริญญาโท ร้อยละ 2.99 และปริญญาเอก ร้อยละ 1.49 ตำแหน่งพนักงานจ้าง ร้อยละ 53.73 ข้าราชการ ร้อยละ 43.28 และลูกจ้างประจำ ร้อยละ 2.99


  1. การประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรม 7 ในการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x ̅ = 4.45) เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านพบว่า 1) ด้านหมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ด้านพร้อมเพรียงในการประชุม มาประชุม เลิกประชุมและทำภารกิจอื่น ๆ ให้พร้อมกัน อยู่ในระดับมากที่สุด 3) ด้านไม่บัญญัติสิ่งที่มิได้บัญญัติ หรือล้มเลิกข้อบัญญัติต่าง ๆ อยู่ในระดับมากที่สุด 4) ด้านเคารพนับถือผู้บังคับบัญชา และรับฟังคำแนะนำจากท่าน อยู่ในระดับมากที่สุด 5) ด้านไม่ข่มเหงหรือล่วงเกินสตรี อยู่ในระดับมากที่สุด 6) ด้านเคารพสักการะปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุและรูปเคารพต่าง ๆ อยู่ในระดับมากที่สุด 7) ด้านให้ความคุ้มครองพระสงฆ์ผู้ทรงศีลและนักบวชอื่น ๆ อยู่ในระดับมากที่สุด

Abstract


This research has aims to study : 1) the  application of Aparihaniyadhamma to administrated in Kood Tart Sub - district Administration, Nongnakham district, Khon Kaen province, and 2) the suggestion to promote the application of Aparihaniyadhamma to administrate Kuthart Sub - district Administration, Nongnakham district, Khon Kaen province. The researcher collected the data from 67 sampling respondents by questionnaires, and analyzed the data by percentage, mean, and standard deviation statistics.


The result were as follows: 1. The respondents, 65.67 percent, were female, and 34.33 percent of the respondents were male. Most of the respondents, 37.31 percent, were age between 31 - 40 years old, 31.34 percent were age between 21 - 30 years old, 28.36 percent were age between 41 - 50 years old, and 2.99 percent of the respondents were age under 21 years old. Lot of the respondents, 70.15 percent, were graduated bachelor degree, 25.37 percent were graduated lower than bachelor degree, 1.49 percent were graduated master degree and doctoral degree. The respondents, 53.73 percent, were labours, 43.28 percent were civil servants, and 2.99 percent were permanent company officers.


  1. The overall opinion of officers’ in the application of Aparihaniyadhamma to administrate Kuthart Sub - district Administration, Nongnakham district, Khon Kaen province was at highest mean level: to hold regular and frequent meetings; to meet together in harmony, disperse in harmony, and do their business and duties in harmony; to introduce no revolutionary ordinance; to honor and respect the elders among the vijjians and deem them worthy of listening to; the women and girls of the families are to dwell without being forced or abducted; to honor and worship the Vajjian shrines; monuments and objects of worship, both central and provincial, and do not neglect those righteous ceremonies held before for them; and to provide the rightful protection, shelter and support for the Arahants.

Published
2020-08-31
How to Cite
ศรีษะเกษ, อนุวัฒน์. การประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรม 7 เพื่อการทำงาน กรณีศึกษาอำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, [S.l.], v. 1, n. 2, p. 67-84, aug. 2020. ISSN 2730-1850. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/mbui/article/view/996>. Date accessed: 28 nov. 2024.
Section
บทความวิจัย