พัฒนาการเรียนรู้ด้านความเป็นครูมืออาชีพในยุคประเทศไทย 4.0 ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นร่วมกับการใช้สื่อมัลติมีเดีย

A DEVELOPING OF LEARNING FOR BEING PROFESSIONAL TEACHERS IN THAILAND 4.0 ERA BY USING A FIVE-STAGE LEARNING PROCESS JOINING WITH MULTIMEDIA USING

  • แสงเดือน คงนาวัง คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Abstract

            บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นร่วมกับการใช้สื่อมัลติมีเดีย 2)เพื่อศึกษาผลการนำกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นไปใช้พัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านความเป็นครูมืออาชีพในยุคประเทศไทย 4.0 และการปฏิบัติกิจกรรมของนักศึกษา 3)เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาทีมีต่อการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นการดำเนินการใช้วิธีการวิจัยและพัฒนา มี 2 รอบ คือ รอบที่ 1 และ 2 เป็นการพัฒนากลุ่มนำร่องและขยายผล ซึ่งได้มาด้วยการสุ่มแบบเจาะจงจากนักศึกษาระดับการศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปีการศึกษา 2562 และ2563 จำนวน 15 และ 30 คน ตามลำดับเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินด้านความรู้ ความเข้าใจ แบบสอบถามความคิดเห็น และแบบติดตามผลการปฏิบัติกิจกรรมฯ ของนักศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่า t–test 


            ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นร่วมกับการใช้สื่อมัลติมีเดียมี  5 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 สร้างความตระหนักขั้นที่ 2 รู้และเข้าใจ ขั้นที่ 3 ขั้นลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 4 ติดตามผลการปฏิบัติกิจกรรม ขั้น 5 ประเมินผลและนำเสนองาน(สื่อมัลติมีเดียใช้ในขั้น 2 และ 3) มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.84 กลุ่มนำร่องและกลุ่มขยายผลมีคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้ ความเข้าใจด้านความเป็นครูมืออาชีพฯ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ ระดับ .05 2. ผลการปฏิบัติกิจกรรมฯ ในระดับดีมาก และความคิดเห็นของนักศึกษาฯ ที่มีต่อกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นอยู่ในระดับดีมาก

References

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (2560). หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือขอนแก่น : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

จำลอง บุญเรืองโรจน์ และคณะ. (2561). กระบวนการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบหน่วยบูรณาการ Active Learning สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ชุมพล จันทร์ฉลอง. (2558). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย เรื่องการสร้างภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ แบบเฟรมต่อเฟรม. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 10(3). 65-74.

ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์. (2559). แนวโน้มของหลักสูตรและการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. 11(1). 14-29.

ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปัณฑ์ชนิต กลีบมาลัย และคณะ. (2559). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้เรื่อง สารสนเทศ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดตลาด (อุดมวิทยา) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา. คณะครุศาสตร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

พระพุทธทาสภิกขุ.(2532). คู่มือมนุษย์ฉบับสมบูรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธรรมสภา.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2557). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มีสท์.

มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (2560). หลักสูตรหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

วิจารณ์ พานิช. (2548). การจัดการความรู้ ฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม.

สมชาย นำประเสริฐชัย. (2550). เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้. สืบค้นเมื่อ 5 สิงหาคม 2564. จาก http://www.kmi.or.th/document/Tech_KM.pdf

สมิทธิรักษ์ จันทรักษ์. (2561). การพัฒนารูปแบบการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป วิทยาลัยดุสิตธานี. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี. 12(1). 263-278.

สำนักงานนโยบายและแผนการจราจรและขนส่ง. (2538). คู่มือการติดตามและประเมินโครงการ. กรุงเทพฯ : สำนักงานนโยบายและแผนการจราจรและขนส่ง.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2556). มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579. กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). มาตรฐานการศึกษาของชาติ.กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดสหายบล็อกและการพิมพ์.

สุวรรณ เหรียญเสาวภาคย์ และคณะ. (2548). การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ก.พลพิมพ์จำกัด.

แสงเดือน คงนาวัง และคณะ. (2562). รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีชี้นําตนเองเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการพัฒนาร่างกายและสุขภาพของเด็กปฐมวัยสำหรับนักศึกษาระดับการศึกษาบัณฑิตสาขาวิชาปฐมวัย. คณะศึกษาศาสตร์ : มหาวิทยาลัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

แสงเดือน คงนาวัง. (2559). การพัฒนาสมรรถนะการสอนของครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้กระบวนการพัฒนา 5 ขั้น. นนทบุรี : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1.

Dewey, J. (1963). Experience and Education. New York : Macmillan Publishing Company.

Hergenhahn, B.R. & Olsen, M. H. (1993). An Introduction to Theories of Learning 14th ed. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice Hall, Inc.

Maslow A. H. (1987). A Theory of Human Motivation In Jay M. Shafritz, and Albert C. 2nd ed. California : The Dorsey Press.

Sunal. C. et al. (2000). Integrating academic units in the elementary school curriculum. United of America : Harcourt College Publishers.
Published
2022-05-17
How to Cite
คงนาวัง, แสงเดือน. พัฒนาการเรียนรู้ด้านความเป็นครูมืออาชีพในยุคประเทศไทย 4.0 ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นร่วมกับการใช้สื่อมัลติมีเดีย. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 6, n. 2, p. 302-315, may 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/jbpe/article/view/1923>. Date accessed: 01 dec. 2024.
Section
Research Article