สภาพและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด

STATES AND NEEDS FOR THE ADMINISTRATION DEVELOPMENT AS THE GOOD GOVERNANCE OF EDUCATIONAL IN SITUATIONS ADMINISTRATORS UNDER ROI-ET VOCATIONAL EDUCATION

  • ณชนก แสงวงษ์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • วิเชียร รู้ยืนยง มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Abstract

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันสภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ดอาชีวศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้บริหาร 13 คน และครูผู้สอนจำนวน 217 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถามมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีความต้องการจำเป็น


           ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันสภาพที่พึงประสงค์ในการบริหารในการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาร้อยเอ็ดสภาพปัจจุบันโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากสภาพที่พึงประสงค์ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ความต้องการจำเป็นในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ดอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านหลักประสิทธิภาพส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านหลักคุณธรรมจริยธรรม

References

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2552). ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา 2552. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2565. จาก http://www. ivene3.ac.th/

จัตตุพงศ์ สุราโพธิ์. (2563). สภาพและแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ณัฐพล ชัยน้อย (2562).ความต้องการจำเป็นในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย. (2556). การบริหารจัดการที่ดีในการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่12 พ.ศ. 2560–2564. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.). (2555). หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.

สุกานดา สุไลมาน. (2560). การใช้หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพของข้าราชการครูสังกัดสำนักงานเขตหนองจอกกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

สุพิศ กระทุ่มกลาง. (2561). การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาการบริหารจัดการตามหลักธรรมภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสนศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

สุรัสวดี คุ้มสุพรรณ. (2564). การศึกษาสภาพและแนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

อริศรา ขาวพล. (2562). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
Published
2022-10-05
How to Cite
แสงวงษ์, ณชนก; รู้ยืนยง, วิเชียร. สภาพและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 7, n. 1, p. 500-510, oct. 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/jbpe/article/view/2145>. Date accessed: 29 nov. 2024.