ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคนิวนอร์มัล

ACADEMIC LEADERSHIP OF EDUCATIONAL INSTITUTION ADMINISTRATORS IN NEW NORMAL AGE

  • ภาณุพงศ์ อุณชาติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • เอกราช โฆษิตพิมาณเวช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Abstract

           สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของโลก ที่เรียกว่ายุคนิวนอร์มัล (New normal) คือ การใช้ชีวิตวิถีใหม่ เพื่อให้การดำเนินชีวิตสามารถก้าวต่อไปได้ ซึ่งการบริหารองค์การก็ต้องมีการปรับตัวให้อยู่รอดและสามารถดำเนินกิจการต่อไปได้ ดังนั้นภาวะผู้นำของผู้บริหารมีความสำคัญมากต่อการทำให้องค์การบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพบทความวิชาการนี้เป็นการศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคนิวนอร์มัล ซึ่งเป็นพื้นฐานของผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องใช้กระบวนการในการใช้อิทธิพลและอำนาจหน้าที่ตลอดจนความรู้ ความสามารถและเทคนิควิธีการต่างๆ ของผู้นำในการสร้างศรัทธาและโน้มน้าวให้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ขององค์กรหรือของผู้นำได้อย่างไม่มีเงื่อนไข ตามเนื้อหาและรายละเอียดดังนี้ 1) ความหมายของภาวะผู้นำทางวิชาการ 2) บทบาทของภาวะผู้นำทางวิชาการ 3) องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา 4) ยุคนิวนอร์มัล  5) แนวคิดและทฤษฎีการบริหารการศึกษา

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2563). "New Normal" คืออะไร? เมื่อโควิด-19 ผลักเราสู่ชีวิต "ปกติวิถีใหม่". สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2565. จาก https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/ 882508

ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร. (2563). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 137 ตอนพิเศษ 69 ง. (25 มีนาคม 2563).

ไพเราะ พัดตาสิงห์. (2554). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำทางวิชาการกับการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนกับผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาอ่างทอง. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

วีระพงศ์ เกียรติไพรยศ. (2560). การประยุกต์ใช้หลักธรรมพระพุทธสาศาสนาในการสร้างภาวะผู้นำของนักบริหาร. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544). รายงานผลการประเมินพฤติกรรมด้านการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2563). พจนานุกรมศัพท์นิเทศศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.

สิร์รานี วสุภัทร. (2551). ภาวะผู้นําทางวิชาการและสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลต่อ ความสำเร็จของการบริหารโดยใชโรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.

เอกราช โฆษิตพิมานเวช. (2560). รูปแบบการบริหารโรงเรียนเอกชนที่มีประสิทธิผล สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

Davis, G. A., & Tomas, M. A. (1989). Effective schools and effective teacher. Boston : Allyn and Bacon.

Duke, D. L.(1987). School leadership and Instructional improvement. New York : Random House.

Glickman, C. D., ( 2007) . Super Vision and instructional leadership: A developmental approach. 7th ed. Boston : Pearson.

Hallinger, P., & Murphy, M. ( 1985) , Assessing the instructional management behavior of principals. The Elementary School Journal. 8(6). 221-224.

Heck, R. H. Et al. ( 1990) . Instructional Leadership. School A achievement: Validation of a Causal Model. Educational Administration Quarterly. 26(2). 94-125.

McEwan, E. K. (2001). Seven steps to effective Instructional leadership. 3rd ed. California : Corwin Press.
Published
2022-10-05
How to Cite
อุณชาติ, ภาณุพงศ์; โฆษิตพิมาณเวช, เอกราช. ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคนิวนอร์มัล. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 7, n. 1, p. 743-753, oct. 2022. ISSN 2730-2644. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/jbpe/article/view/2174>. Date accessed: 29 nov. 2024.