กฎหมายกับความคิดที่แตกต่างของประชาชน

THE LAW AND THE DIFFERENT IDEAS OF THE PEOPLE

  • ไกรสร เดชสิมมา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • บุญเพ็ง สิทธิวงษา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Abstract

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากฎหมายกับความคิดที่แตกต่างของประชาชน จากการศึกษา พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคมในปัจจุบันนับว่ามีความทันสมัยและมุ่งสู่ยุคโลกาภิวัตน์ แต่การที่สังคมใดสังคมหนึ่งจะอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขได้ต้องอาศัยกลไกหลาย ๆ อย่างเข้ามาควบคุมเพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยและไม่เกิดความเสียหายต่อภาพรวมในสังคม และไม่เกิดการเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน ฉะนั้นในประเทศหนึ่ง ๆ จึงต้องมีกฏกณฑ์หรือกติกาเพื่อนำไปบังคับใช้ในสังคมนั้นๆ เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคมอย่างเป็นรูปธรรม แต่ในปัจจุบันนี้ความคิดที่แตกต่างจองประชาชนในสังคมเริ่มมีมุมมองที่สะท้อนให้เห็นว่า “กฎหมาย” ช่องโว่ที่เอื้อต่อกลุ่มบุคคลที่มีอำนาจ มีบารมีที่สามารถนำมาเพื่อให้ตนเองและพรรคพวกนำไปใช้ในทางที่สามารถหลุดพ้นจากการลงโทษ นั่นจึงเป็นที่มาของความคิดที่แตกต่างทางสังคมในปัจจุบัน เมื่อสังคมมีการพัฒนาปอย่างรวดเร็วความคิดของประชาชนย่อมมีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดในปัจจุบัน เพราะประชาชนในสังคมมีการติดต่อ แข่งขัน และมีการศึกษาที่มีความทันสมัยมากขึ้น

References

ณัฐกร วิทิตานนท์. (2553). หลักรัฐธรรมนูญเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดวงอุมา โสภา. (2551). ระดับความคิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการของสำนักทะเบียน อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ์. (2562). คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพฯ : วิญญูชน.

บรรเจิด สิงคะเนติ. (2558). หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิญญูชน.

บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. (2553). กฎหมายรัฐธรรมนูญ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ประพาฬรัตน์ สุขดิษฐ์. (2561). แนวทางการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 6(2). 15-27.

ปรีดี เกษมทรัพย์. (2560). นิติปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

มานิต จุมปา. (2560). เอกสารประกอบคำบรรยายเรื่อง สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ชุดที่ 1 และชุดที่ 2. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2566. จาก http://www.thethaibar.or.th/thaibarweb/index.php/th

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด.

สรัล เลาหพันธ์. (2564). การบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดมหาสารคาม. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 10(1). 694–703.

Allport, Gordon W. (1935). Handbook of Social Psychology. Roehester, MA : Clark University Press.

Assael, Henry. (1995). Consumer Behavior and Marketing Action. 5th ed. Cincinnati, Ohio : South-Western College.

Kendler, Howard H. (1974). Basic psychology. New York : Appletion Century-Grutt Company.

Webster. (1967). Webster’Dictionary of the American Language. New York : McGraw-Hill.
Published
2023-08-17
How to Cite
เดชสิมมา, ไกรสร; สิทธิวงษา, บุญเพ็ง. กฎหมายกับความคิดที่แตกต่างของประชาชน. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์, [S.l.], v. 7, n. 2, p. 773-778, aug. 2023. ISSN 2730-2644. Available at: <http://705527.funfizzhk.tech/index.php/jbpe/article/view/2352>. Date accessed: 01 dec. 2024.